เบาะแผ่นรองขารักษาแผลกดทับที่ต้นขา หมอนรองขา แผลกดทับ ขาเข้าเฝือก เครื่องใช้ในบ้าน ห้องนอน หมอนและหมอนข้าง
คุณสมบัติเด่น / รายละเอียดสินค้า:
เบาะรองขารักษาแผลกดทับที่ต้นขา หมอนรองขา แผลกดทับ ขาเข้าเฝือก
1. จัดท่า และพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุกๆ 2 ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย โดยจัดท่านอนศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา ควรมีหมอนสอดคั่นระหว่างหัวเข่า ตาตุ่มทั้ง 2 ข้าง ขา 2 ข้าง และใช้หมอนรองใต้น่องและขา เพื่อให้เท้าลอยพ้นพื้น การจัดท่านั่ง ควรนั่งพิงพนักเก้าอี้ หรือพนักรถเข็น และเท้าวางบนที่พักเท้า โดยไม่ให้ส้นเท้าถูกกด หากผู้ป่วยสามารถช่วยตัวเองได้บ้าง ให้มีการขยับหรือยกก้น ทุก 15
-30 นาที
2. เลือกใช้อุปกรณ์ที่ลดแรงกดทับ เช่น ที่นอนลม และห้ามใช้ห่วงยางรองนั่ง หรือหมอนรูปโดนัท เพราะจะทำให้ผิวหนังบริเวณที่รองไม่มีเลือดไปเลี้ยง และเกิดแผลกดทับได้เช่นกัน
3. เมื่อต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ห้ามใช้การลาก ถู แต่ใช้การยกตัว เพื่อลดการเสียดสีของผิวหนัง ออกกำลังกายเป็นประจำ เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตในร่างกาย ทั้งนี้ ห้ามนวดบริเวณปุ่มกระดูก หรือห้ามประคบร้อน
4. ในกรณีที่ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้ ควรกระตุ้นให้ผู้ป่วยขยับตัวด้วยตนเอง แต่ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลควรช่วยพลิกตัวอย่างน้อยต้องทุก 2 ชั่วโมง และช่วยทำกายภาพบำบัด
5. ดูแลผิวหนังของผู้ป่วยด้วยการทาโลชั่น เพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวหนัง
6. จัดหาอาหารที่มีประโยชน์ และสารอาหารครบถ้วนให้แก่ผู้ป่วย โดยเน้นกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ อาหารปรุงสุก สะอาด หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็มจัด รสเผ็ด และอาหารหมักดองต่างๆ
7. ใช้แผ่นโฟมทางการแพทย์ปิดผิวหนังบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ นอกจากแผลกดทับจะเกิดจากการที่ร่างกายไม่ได้ขยับเป็นเวลานานแล้ว ยังพบการอักเสบของผิวหนังจากการสัมผัสสิ่งขับถ่ายในผู้ป่วยที่นอนติดเตียง และใช้แพมเพิร์ส จึงเกิดการหมักหมมของสิ่งขับถ่ายอย่างอุจจาระ และปัสสาวะ พบว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้ผิวหนังมีการอักเสบและแดง อาจมีการกัดกร่อน หรือเป็นแผลเปิดเลยก็ได้
1. จัดท่า และพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุกๆ 2 ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย โดยจัดท่านอนศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา ควรมีหมอนสอดคั่นระหว่างหัวเข่า ตาตุ่มทั้ง 2 ข้าง ขา 2 ข้าง และใช้หมอนรองใต้น่องและขา เพื่อให้เท้าลอยพ้นพื้น การจัดท่านั่ง ควรนั่งพิงพนักเก้าอี้ หรือพนักรถเข็น และเท้าวางบนที่พักเท้า โดยไม่ให้ส้นเท้าถูกกด หากผู้ป่วยสามารถช่วยตัวเองได้บ้าง ให้มีการขยับหรือยกก้น ทุก 15
-30 นาที
2. เลือกใช้อุปกรณ์ที่ลดแรงกดทับ เช่น ที่นอนลม และห้ามใช้ห่วงยางรองนั่ง หรือหมอนรูปโดนัท เพราะจะทำให้ผิวหนังบริเวณที่รองไม่มีเลือดไปเลี้ยง และเกิดแผลกดทับได้เช่นกัน
3. เมื่อต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ห้ามใช้การลาก ถู แต่ใช้การยกตัว เพื่อลดการเสียดสีของผิวหนัง ออกกำลังกายเป็นประจำ เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตในร่างกาย ทั้งนี้ ห้ามนวดบริเวณปุ่มกระดูก หรือห้ามประคบร้อน
4. ในกรณีที่ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้ ควรกระตุ้นให้ผู้ป่วยขยับตัวด้วยตนเอง แต่ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลควรช่วยพลิกตัวอย่างน้อยต้องทุก 2 ชั่วโมง และช่วยทำกายภาพบำบัด
5. ดูแลผิวหนังของผู้ป่วยด้วยการทาโลชั่น เพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวหนัง
6. จัดหาอาหารที่มีประโยชน์ และสารอาหารครบถ้วนให้แก่ผู้ป่วย โดยเน้นกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ อาหารปรุงสุก สะอาด หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็มจัด รสเผ็ด และอาหารหมักดองต่างๆ
7. ใช้แผ่นโฟมทางการแพทย์ปิดผิวหนังบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ นอกจากแผลกดทับจะเกิดจากการที่ร่างกายไม่ได้ขยับเป็นเวลานานแล้ว ยังพบการอักเสบของผิวหนังจากการสัมผัสสิ่งขับถ่ายในผู้ป่วยที่นอนติดเตียง และใช้แพมเพิร์ส จึงเกิดการหมักหมมของสิ่งขับถ่ายอย่างอุจจาระ และปัสสาวะ พบว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้ผิวหนังมีการอักเสบและแดง อาจมีการกัดกร่อน หรือเป็นแผลเปิดเลยก็ได้