เหรียญหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ วัดบ้านไร่ รุ่น กูรักษ์ป่า ครบรอบการครองราชย์ 50 ปี จัดสร้างโดย ปตท ปี 2539

คุณสมบัติเด่น / รายละเอียดสินค้า:
เริ่มมาตั้งแต่ปี 2537 โดยได้จัดตั้งหน่วยงานโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติขึ้นเพื่อมาดูแล ดำเนินการปลูกป่าจำนวน 1 ล้านไร่ และแล้วเสร็จทูลเกล้าฯถวาย ร.9 เมื่อวันที่ 16 พ.ย. 2545ปตท.จึงได้จัดกิจกรรมต่อเนื่องจากการปลูกป่าผ่านโครงการต่างๆ ประกอบด้วย
1. โครงการรักษาป่าระยะยาว 3 โครงการ คือ
-โครงการ รสทป. โดยร่วมกับกองทัพภาคต่างๆ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดอบรมราษฎรรอบพื้นที่แปลงปลูกป่าตามโครงการ รสทป.ตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยอบรมตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา รุ่นละ 100 คน มีผู้เข้ารับการอบรมไปแล้ว 320 รุ่น รวม 32,000 คน
-โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันไฟป่า ที่ร่วมกับกรมป่าไม้ กรมอุทยานสัตว์ป่าและพันธุ์พืช เพื่อให้รู้วิธีการป้องกันไฟป่า การทำแนวกันไฟ การใช้เครื่องมือดับไฟป่าและวิธีดับไฟป่าที่ถูกต้อง โดยอบรมตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา รุ่นละ 100 คน มีผู้เข้ารับการอบรม 323 รุ่น รวม 32,300 คน และ
-โครงการเยาวชน ปตท.รักษาป่า ที่ ปตท.ได้จัดฝึกอบรมโครงการเยาวชน ปตท.รักษาป่าให้กับเยาวชนจากโรงเรียนต่างๆ รอบพื้นที่แปลงปลูกป่าเพื่อปลูกฝังให้เยาวชนได้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของป่าไม้และสิ่งแวดล้อม โดยเยาวชนเหล่านี้เป็นกำลังสำคัญในการปกป้องดูแลผืนป่าในอนาคตต่อไป โดยอบรมตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา รุ่นละ 100 คน มีผู้เข้ารับการอบรมไปแล้ว 320 รุ่น รวม 32,000 คน
2. โครงการหมู่บ้าน ปตท. พัฒนาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ควบคู่ไปกับการสร้างจิตสำนึกในการดูแลรักษาป่าให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่รอบ พื้นที่แปลงปลูกป่า ปตท. รวมทั้งจัดตั้งเป็นกองทุนหมู่บ้านขึ้น เพื่อเป็นทุนสำหรับการประกอบอาชีพต่อไป และ ปตท.ยังได้ใช้กลยุทธ์ต่างๆ เพื่อช่วยลดการบุกรุกทำลายป่า อาทิ การสร้างเหรียญหลวงพ่อคูณ รุ่น "กูรักษ์ป่า" และโครงการลูกโลกสีเขียว เป็นต้น"ในวันนี้สภาพป่าที่ ปตท.ปลูกและดูแลสภาพป่ามาจนถึงทุกวันนี้มีความสมบูรณ์มาก เห็นได้จากผลการวิจัยล่าสุดของคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ที่ระบุว่าในแปลงปลูกป่า 1 ล้านไร่ ของ ปตท. ระหว่างปี 2537
-2551 พบว่าพื้นที่ป่าสามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง
18.1 ล้านตัน และคืนก๊าซออกซิเจนสู่ชั้นบรรยากาศ
14.5 ล้านตันออกซิเจน ถือเป็นหนึ่งในกิจกรรมลดโลกร้อนได้ค่อน ข้างสูง และคิดเป็นมูลค่าการเก็บกับคาร์บอนไดออกไซด์ 6,052 ล้านบาท และประชาชนในพื้นที่สามารถใช้ ประโยชน์จากป่าเพื่อการบริโภคการสร้างอาชีพเสริมแก่ราษฎรในการเก็บผลผลิตจาก ป่าไปจำหน่ายได้ อาทิ ไม้ไผ่ ผลไม้ป่า ผักป่า ไม้ฟืน สมุนไพร หน่อไม้ หวาย แมลงและไข่ของแมลง เห็ด กุ้ง ปู ปลา สาหร่าย เป็นต้น ได้ประมาณ 2,000 ล้านบาทต่อปี
1. โครงการรักษาป่าระยะยาว 3 โครงการ คือ
-โครงการ รสทป. โดยร่วมกับกองทัพภาคต่างๆ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดอบรมราษฎรรอบพื้นที่แปลงปลูกป่าตามโครงการ รสทป.ตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยอบรมตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา รุ่นละ 100 คน มีผู้เข้ารับการอบรมไปแล้ว 320 รุ่น รวม 32,000 คน
-โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันไฟป่า ที่ร่วมกับกรมป่าไม้ กรมอุทยานสัตว์ป่าและพันธุ์พืช เพื่อให้รู้วิธีการป้องกันไฟป่า การทำแนวกันไฟ การใช้เครื่องมือดับไฟป่าและวิธีดับไฟป่าที่ถูกต้อง โดยอบรมตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา รุ่นละ 100 คน มีผู้เข้ารับการอบรม 323 รุ่น รวม 32,300 คน และ
-โครงการเยาวชน ปตท.รักษาป่า ที่ ปตท.ได้จัดฝึกอบรมโครงการเยาวชน ปตท.รักษาป่าให้กับเยาวชนจากโรงเรียนต่างๆ รอบพื้นที่แปลงปลูกป่าเพื่อปลูกฝังให้เยาวชนได้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของป่าไม้และสิ่งแวดล้อม โดยเยาวชนเหล่านี้เป็นกำลังสำคัญในการปกป้องดูแลผืนป่าในอนาคตต่อไป โดยอบรมตั้งแต่ปี 2538 เป็นต้นมา รุ่นละ 100 คน มีผู้เข้ารับการอบรมไปแล้ว 320 รุ่น รวม 32,000 คน
2. โครงการหมู่บ้าน ปตท. พัฒนาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ควบคู่ไปกับการสร้างจิตสำนึกในการดูแลรักษาป่าให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่รอบ พื้นที่แปลงปลูกป่า ปตท. รวมทั้งจัดตั้งเป็นกองทุนหมู่บ้านขึ้น เพื่อเป็นทุนสำหรับการประกอบอาชีพต่อไป และ ปตท.ยังได้ใช้กลยุทธ์ต่างๆ เพื่อช่วยลดการบุกรุกทำลายป่า อาทิ การสร้างเหรียญหลวงพ่อคูณ รุ่น "กูรักษ์ป่า" และโครงการลูกโลกสีเขียว เป็นต้น"ในวันนี้สภาพป่าที่ ปตท.ปลูกและดูแลสภาพป่ามาจนถึงทุกวันนี้มีความสมบูรณ์มาก เห็นได้จากผลการวิจัยล่าสุดของคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ที่ระบุว่าในแปลงปลูกป่า 1 ล้านไร่ ของ ปตท. ระหว่างปี 2537
-2551 พบว่าพื้นที่ป่าสามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง
18.1 ล้านตัน และคืนก๊าซออกซิเจนสู่ชั้นบรรยากาศ
14.5 ล้านตันออกซิเจน ถือเป็นหนึ่งในกิจกรรมลดโลกร้อนได้ค่อน ข้างสูง และคิดเป็นมูลค่าการเก็บกับคาร์บอนไดออกไซด์ 6,052 ล้านบาท และประชาชนในพื้นที่สามารถใช้ ประโยชน์จากป่าเพื่อการบริโภคการสร้างอาชีพเสริมแก่ราษฎรในการเก็บผลผลิตจาก ป่าไปจำหน่ายได้ อาทิ ไม้ไผ่ ผลไม้ป่า ผักป่า ไม้ฟืน สมุนไพร หน่อไม้ หวาย แมลงและไข่ของแมลง เห็ด กุ้ง ปู ปลา สาหร่าย เป็นต้น ได้ประมาณ 2,000 ล้านบาทต่อปี