Magnesium Sulphate Heptahydrate แมกนีเซียมซัลเฟต แม็กนีเซี่ยมซัลเฟต แมกนีเซี่ยม แม็กนีเซี่ยม แม็กนีเซียม แมกนีเซยม แม็กนีเซียมซัลเฟต แมกนีเซียมซัลเฟต แบบผลึกคริสตัลเม็ดใหญ่ บรรจุ 25 กิโลกรัม
คุณสมบัติเด่น / รายละเอียดสินค้า:
Magnesium Sulphate แมกนีเซียมซัลเฟต (ประกอบด้วยธาตุ Mg 10%) 25 กิโลกรัมลักษณะเป็นผลึกคริสตัลเม็ดใหญ่ ไม่จับเป็นก้อนแข็ง ละลายน้ำได้ดี 100% ไม่มีตะกอนสูตรเคมี MgSO
4.7H20 Magnesium Sulfate Heptahydrate แมกนีเซียมซัลเฟตเฮปตาไฮเดรต หรือดีเกลือฝรั่ง (Epsom salt) ทำให้ใบพืชมีความแข็งแรง ทนทานเพิ่มคลอโรฟิลส์ให้แก่พืช ผลผลิตมีคุณภาพ น้ำหนักดีประกอบด้วยแม็กนีเซียม Mg 10% (หรือ MgO 16%)กำมะถัน S 16%ใช้สำหรับ
1. ละลายน้ำเพื่อเป็นธาตุอาหารสำหรับการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
2. ละลายน้ำเพื่อฉีดพ่นพืชโดยตรง โดยพืชสามารถดูดซึมธาตุอาหารผ่านทางใบและสามารถนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพอัตราการใช้ แมกนีเซียมซัลเฟต สำหรับฉีดพ่นใช้ความเข้มข้น 1
-2% หรือ 1
-2 กก.ต่อน้ำ 200 ลิตรธาตุแมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบของส่วนที่เป็นสีเขียว ทั้งที่ใบและส่วนอื่น ๆ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสร้างอาหารและโปรตีนพืช อาการขาดแมกนีเซียมจะสั่งเกตได้จากใบพืช ที่เหลืองซีดบริเวณเส้นกลางใบที่อยู่ใกล้กับผลหรือมีจุดประสีเหลืองอยู่ทั่วทั้งใบ ถ้าหากอาการขาดรุ่นแรงใบแก่จะมีอาการมากกว่าใบอ่อน สำหรับผักกาดใบจะมีสีซีดจางลง ลักษณะอาการที่แสดงที่ลำต้นคือ ต้นพืชจะมีขนาดเล็กลงมาก เปราะหักง่ายการขาดธาตุแมกนีเซียม จะทำให้ผลผลิตลดน้อยลงและต้นพืชทรุดโทรมอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งสาเหตุที่พืชขาดธาตุแมกนีเซียมนั้น เพราะปริมาณแมกนีเซียมที่อยู่ในดินถูกชะล้างลึกลงไปเกินกว่าที่รากพืชจะดึงดูดมาใช้ได้ และการที่มีปริมาณโปแตสเซียมสะสมในดินมากเกินไปก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่สำคัญ การแก้ไข สามารถทำได้โดยการปรับปรุงสภาพดิน ความเป็นกรด ด่างของดินให้เหมาะสมต่อการดูดเข้าไปใช้ของพืช และมีการใช้ปุ๋ยโปแตสเซียมที่พอเหมาะ ที่สำคัญก็คือ การฉีดพ่นทางใบด้วยธาตุอาหารเสริม ซึ่งมีธาตุแมกนีเซียมในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ได้ทันทีธาตุกำมะถัน กำมะถันมีความจำเป็นต่อการสร้างโปรตีนพืช เป็นองค์ประกอบของวิตามินบางตัวที่มีผลทางอ้อมต่อการสร้างสีเขียวของพืช ซึ่งจะช่วยให้เกิดการหายใจและการปรุงอาหารพืช พืชที่ขาดกำมะถันจะมีเสียเขียวอ่อน หรือเหลืองคล้าย ๆ อาการขาดไนโตรเจน ใบขนาดเล็กลง ยอดของพืชจะชะงักการเจริญเติบโต ลำต้นและกิ่งก้านลีบเล็ก อาการขาดธาตุกำมะถันจะมีอาการแตกต่างจากขาดธาตุไนโตรเจน คือจะปรากฏที่ยอดอ่อนก่อน ส่วนใบล่างยังคงปกติ ถ้าอาการรุนแรงใบล่างก็จะมีอาการด้วยเช่นกัน ซึ่งจะตรงข้ามกับอาการของการขาดไนโตรเจน จะแสดงอาการที่ใบล่างก่อน
4.7H20 Magnesium Sulfate Heptahydrate แมกนีเซียมซัลเฟตเฮปตาไฮเดรต หรือดีเกลือฝรั่ง (Epsom salt) ทำให้ใบพืชมีความแข็งแรง ทนทานเพิ่มคลอโรฟิลส์ให้แก่พืช ผลผลิตมีคุณภาพ น้ำหนักดีประกอบด้วยแม็กนีเซียม Mg 10% (หรือ MgO 16%)กำมะถัน S 16%ใช้สำหรับ
1. ละลายน้ำเพื่อเป็นธาตุอาหารสำหรับการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
2. ละลายน้ำเพื่อฉีดพ่นพืชโดยตรง โดยพืชสามารถดูดซึมธาตุอาหารผ่านทางใบและสามารถนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพอัตราการใช้ แมกนีเซียมซัลเฟต สำหรับฉีดพ่นใช้ความเข้มข้น 1
-2% หรือ 1
-2 กก.ต่อน้ำ 200 ลิตรธาตุแมกนีเซียม เป็นองค์ประกอบของส่วนที่เป็นสีเขียว ทั้งที่ใบและส่วนอื่น ๆ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการสร้างอาหารและโปรตีนพืช อาการขาดแมกนีเซียมจะสั่งเกตได้จากใบพืช ที่เหลืองซีดบริเวณเส้นกลางใบที่อยู่ใกล้กับผลหรือมีจุดประสีเหลืองอยู่ทั่วทั้งใบ ถ้าหากอาการขาดรุ่นแรงใบแก่จะมีอาการมากกว่าใบอ่อน สำหรับผักกาดใบจะมีสีซีดจางลง ลักษณะอาการที่แสดงที่ลำต้นคือ ต้นพืชจะมีขนาดเล็กลงมาก เปราะหักง่ายการขาดธาตุแมกนีเซียม จะทำให้ผลผลิตลดน้อยลงและต้นพืชทรุดโทรมอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งสาเหตุที่พืชขาดธาตุแมกนีเซียมนั้น เพราะปริมาณแมกนีเซียมที่อยู่ในดินถูกชะล้างลึกลงไปเกินกว่าที่รากพืชจะดึงดูดมาใช้ได้ และการที่มีปริมาณโปแตสเซียมสะสมในดินมากเกินไปก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่สำคัญ การแก้ไข สามารถทำได้โดยการปรับปรุงสภาพดิน ความเป็นกรด ด่างของดินให้เหมาะสมต่อการดูดเข้าไปใช้ของพืช และมีการใช้ปุ๋ยโปแตสเซียมที่พอเหมาะ ที่สำคัญก็คือ การฉีดพ่นทางใบด้วยธาตุอาหารเสริม ซึ่งมีธาตุแมกนีเซียมในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ได้ทันทีธาตุกำมะถัน กำมะถันมีความจำเป็นต่อการสร้างโปรตีนพืช เป็นองค์ประกอบของวิตามินบางตัวที่มีผลทางอ้อมต่อการสร้างสีเขียวของพืช ซึ่งจะช่วยให้เกิดการหายใจและการปรุงอาหารพืช พืชที่ขาดกำมะถันจะมีเสียเขียวอ่อน หรือเหลืองคล้าย ๆ อาการขาดไนโตรเจน ใบขนาดเล็กลง ยอดของพืชจะชะงักการเจริญเติบโต ลำต้นและกิ่งก้านลีบเล็ก อาการขาดธาตุกำมะถันจะมีอาการแตกต่างจากขาดธาตุไนโตรเจน คือจะปรากฏที่ยอดอ่อนก่อน ส่วนใบล่างยังคงปกติ ถ้าอาการรุนแรงใบล่างก็จะมีอาการด้วยเช่นกัน ซึ่งจะตรงข้ามกับอาการของการขาดไนโตรเจน จะแสดงอาการที่ใบล่างก่อน