คู่มือปฏิบัติงานดหัตถเวชกรรมไทย เล่มที่ 2 (นวดไทย)
คุณสมบัติเด่น / รายละเอียดสินค้า:
คู่มือปฏิบัติงานหัตถเวชกรรมไทย เล่มที่ 2 [Vejasorn brand]
.
.
รายละเอียด
เป็นหนังสือที่รวบรวมจุด แนวเส้นที่ใช้รักษาอาการตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย อ้างอิงจากตำราและคัมภีร์แผนนวดฉบับต่างๆ เนื้อหาแบ่งออกเป็นวิธีการอ่านและใช้หนังสือ ส่วนของแผนภาพหงายคว่ำแบ่งออกเป็น 20 อาการ กลไกการทำงานของร่างกาย (กองพิกัดสมุฏฐาน) และการตรวจประเมินร่างกายทางเวชกรรมไทย (การจับชีัพจร) เพื่อนำมาใช้ตรวจประเมินร่างกายเพื่อการรักษาทางหัตถเวชกรรมไทยได้ดียิ่งขึ้น
.
เป็นหนังสือทำมือ จำนวน 60 หน้า (รวมปก)
.
xx 20 อาการมีดังนี้ อาการผิดปกติดังนี้ xx
1. หู การได้ยิน (หูอื้อ หูน้ำหนวก)
2. ตา การมองเห็น (ตาพร่ามัว ปวดตา น้ำตาไหล)
3. ลิ้น การรับรส (ลิ้นกระด้างคางแข็ง)
4. หัวใจ ดวงจิต (จิตเวช)
5. ปวดศีรษะ ปวดไมเกรน (ละปะกัง)
6. นอนไม่หลับ
7. อาการไข้ ความร้อน
8. อาการชัก
9. อาการเหนื่อย หอบ กระหายน้ำ
10. อาการตะคริว
11. อาการยอก
12. อาการเหน็บชา
13. อาการคลื่นไส้ อาเจียน
14. อาการไอ
15. อาการทางเสมหะ
16. อาการปวดท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ
17. อาการผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
18. อาการกล่อน (ไส้เลื่อน)
19. อาการผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระ
20. อาการบวม (โสภะโรค)
- การจับชีพจรแนวเส้นสรีรธารกา เพื่อประเมินว่าควรใช้จุดแนวเส้นใดในการรักษาทางหัตถเวชกรรมไทย . หนังสือเล่มนี้เหมาะกับใครบ้าง
1. ผู้ปฏิบัติงานทางหัตถเวชกรรมไทย (นวดไทย) ทุกท่าน เช่น แพทย์แผนไทย
-ประยุกต์ เธอราพิสท์ หมอนวด เป็นต้น เมื่อรู้จุดและแนวเส้นที่ใช้รักษาอาการ จะทำให้บำบัดรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ไม่ใช่นวดไปเรื่อยเปื่อย)
2. ผู้ต้องการต่อยอดความรู้ทางหัตถเวชกรรมไทยดั้งเดิม จีนมีจุดนวดจุดฝั่งเข็ม อินเดียมีมาม่าพ้อยท์ ไทยเองก็มีแต่อยู่ในตำราคัมภีร์แผนนวดฉบับต่างๆ
3. ผู้ที่เป็นอาจารย์สอนหัตถเวชกรรมไทยและต้องปฏิบัติหรือนำทีม หรือนำนิสิต ผู้เรียนเพื่อรักษาคนไข้ บางครั้งการนวดตามวิธีปัจจุบันก็ไม่ตอบโจทย์ครอบคลุมทั้งหมด
4. ผู้ที่ทำธุรกิจคลินิก ภายใต้ทุนคือเวลา แรงกายที่จำกัด การที่รู้จุดและแนวเส้นที่ใช้รักษาเฉพาะทำให้คนรับบริการประทับใจแล้วบอกต่อ เป็นจุดแข็งอย่างนึงของแพทย์แผนไทยของผู้ให้บริการ
5. ผู้ที่รู้สึกเช่นเดียวกับผมว่า วิธีที่ใช้นวดอยู่ปัจจุบันไม่สามารถตอบสนองหรือเพียงพอที่ใช้บำบัดรักษาคนไข้ที่มาด้วยอาการนอกตำราที่เรียน แต่ยังอยากคงอนุรักษ์ วิชาความรู้ทางด้วยหัตถเวชกรรมไทยไว้
6. ผู้ที่สนใจศึกษาตำราแผนนวดหงาย
-คว่ำของไทย ผู้ที่สนใจเหตุและที่มาของความรู้ทางหัตถเวขกรรมไทย
7. ผู้ที่ต้องการพัฒนาหัตถเวชกรรมไทยจากฐานราก
1. หู การได้ยิน (หูอื้อ หูน้ำหนวก)
2. ตา การมองเห็น (ตาพร่ามัว ปวดตา น้ำตาไหล)
3. ลิ้น การรับรส (ลิ้นกระด้างคางแข็ง)
4. หัวใจ ดวงจิต (จิตเวช)
5. ปวดศีรษะ ปวดไมเกรน (ละปะกัง)
6. นอนไม่หลับ
7. อาการไข้ ความร้อน
8. อาการชัก
9. อาการเหนื่อย หอบ กระหายน้ำ
10. อาการตะคริว
11. อาการยอก
12. อาการเหน็บชา
13. อาการคลื่นไส้ อาเจียน
14. อาการไอ
15. อาการทางเสมหะ
16. อาการปวดท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ
17. อาการผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
18. อาการกล่อน (ไส้เลื่อน)
19. อาการผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระ
20. อาการบวม (โสภะโรค)
- การจับชีพจรแนวเส้นสรีรธารกา เพื่อประเมินว่าควรใช้จุดแนวเส้นใดในการรักษาทางหัตถเวชกรรมไทย . หนังสือเล่มนี้เหมาะกับใครบ้าง
1. ผู้ปฏิบัติงานทางหัตถเวชกรรมไทย (นวดไทย) ทุกท่าน เช่น แพทย์แผนไทย
-ประยุกต์ เธอราพิสท์ หมอนวด เป็นต้น เมื่อรู้จุดและแนวเส้นที่ใช้รักษาอาการ จะทำให้บำบัดรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ไม่ใช่นวดไปเรื่อยเปื่อย)
2. ผู้ต้องการต่อยอดความรู้ทางหัตถเวชกรรมไทยดั้งเดิม จีนมีจุดนวดจุดฝั่งเข็ม อินเดียมีมาม่าพ้อยท์ ไทยเองก็มีแต่อยู่ในตำราคัมภีร์แผนนวดฉบับต่างๆ
3. ผู้ที่เป็นอาจารย์สอนหัตถเวชกรรมไทยและต้องปฏิบัติหรือนำทีม หรือนำนิสิต ผู้เรียนเพื่อรักษาคนไข้ บางครั้งการนวดตามวิธีปัจจุบันก็ไม่ตอบโจทย์ครอบคลุมทั้งหมด
4. ผู้ที่ทำธุรกิจคลินิก ภายใต้ทุนคือเวลา แรงกายที่จำกัด การที่รู้จุดและแนวเส้นที่ใช้รักษาเฉพาะทำให้คนรับบริการประทับใจแล้วบอกต่อ เป็นจุดแข็งอย่างนึงของแพทย์แผนไทยของผู้ให้บริการ
5. ผู้ที่รู้สึกเช่นเดียวกับผมว่า วิธีที่ใช้นวดอยู่ปัจจุบันไม่สามารถตอบสนองหรือเพียงพอที่ใช้บำบัดรักษาคนไข้ที่มาด้วยอาการนอกตำราที่เรียน แต่ยังอยากคงอนุรักษ์ วิชาความรู้ทางด้วยหัตถเวชกรรมไทยไว้
6. ผู้ที่สนใจศึกษาตำราแผนนวดหงาย
-คว่ำของไทย ผู้ที่สนใจเหตุและที่มาของความรู้ทางหัตถเวขกรรมไทย
7. ผู้ที่ต้องการพัฒนาหัตถเวชกรรมไทยจากฐานราก