เกลือดำ เกลือหิมาลัย เกลือดำหิมาลัย เกลือดำอินเดีย เกลือดำกาลามัค เกลือดำหิมาลายัน เกลือดำแท้ เกลือดำสวนปานะ Himalayan Black Salt 400 g.
-ด่าง ของร่างกาย เพื่อส่งเสริมให้ระบบต่าง ๆ ของร่างกายทำงานอย่างสมดุลย์ เม็ดเกลือมีขนาดแบบละเอียด
0.10 มล. อยู่ในระดับ Food Grade จึงมีโมเลกุลเล็กมาก เป็นสารอิเล็กโทรไลท์ ร่างกายจึงยอมรับให้เป็นส่วนหนึ่งของเซลล์ จึงไม่ผ่านไต * มีแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกายมากถึง 84 ชนิด * อุดมไปด้วยธาตุเหล็ก * มีโซเดี่ยมต่ำกว่าเกลือทะเล * ใช้ปรุงอาหาร ทำให้รสชาติดียิ่งขึ้น
1. ท่านที่มีสภาวะปกติ ใช้ 1/4 ช้อนชา ชงในน้ำดื่ม 1 แก้ว (250 มล.) ดื่มตอนเช้าและก่อนนอน ครั้งละ 1 แก้ว • ควรเก็บไว้ในที่แห้ง อุณหภูมิห้อง ต่ำกว่า 30 องศาเซลเซียส พ้นจากแสงแดดและความร้อน ผลิตโดย ตรา สวนปา
-นะ (Suanpana Brand) เกลือสีดำหิมาลายัน เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า อินเดียนแบล็กซอลต์ หรือ กาลา นามัค (Kala Namak) เป็นเครื่องปรุงประจำท้องถิ่นของประเทศอินเดีย ที่พบได้บนยอดเขาที่มีหิมะปกคลุมตามแนวเทือกเขาหิมาลัย โดยมีตั้งแต่สีชมพูอมน้ำตาลไปถึงม่วงเทา เกลือดำหิมาลายัน สีนี้แตกต่างจากเกลือสีขาวชนิดอื่นๆ ทั่วไป เพราะจัดเป็นหนึ่งในเครื่องปรุงที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากที่สุดในโลก โดยสามารถช่วยบรรเทาอาการตั้งแต่กระเพาะอาหารอักเสบไปจนถึงโรคหลอดเลือดหัวใจ เกลือดำจึงเป็นเครื่องปรุงที่ทุกครัวเรือนจำเป็นต้องมี นอกจากจะนิยมใช้ในการรักษาแบบอายุรเวทแล้ว เกลือดำยังเป็นเครื่องปรุงยอดนิยมในการทำอาหารวีแกนอีกด้วย เกลือทั้งสองตัวนี้ มีแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย 84 ชนิด เหมือนกัน แต่ต่างกันตรงสายแร่หลัก 1) เกลือสีดำ จะมีกำมะถันมากกว่า จึงทำให้มีกลิ่นเหมือน บ่อน้ำแร่ธรรมชาติ และในเกลือดำ จะมีความเป็นด่างมากกว่าในเกลือชมพูค่ะ (กำมะถัน มีส่วนช่วยบำรุงผม เล็บ และ ผิว) 2) เกลือสีชมพู จะมีธาตุเหล็กมากกว่า และไม่มีกลิ่นของกำมะถัน รสชาติดี จะมีรสเค็มอมหวานนิด ๆ ปรุงอะไรก็อร่อยค่ะ น้ำมะนาวใส่เกลือชมพูเป็นอะไรที่ฟินมาก....เลยค่ะ (ธาตุเหล็ก เป็นแร่ธาตุจำเป็นในการสร้างเม็ดเลือด)
สรรพคุณ: | |
วิธีชงดื่ม: | |
2. สำหรับคนป่วยหรือร่างกายพร่อง ให้ดื่ม เพิ่มอีก 1-2 ช้อนชาน้ำหนัก: | 400 กรัม/ขวด |
การเก็บรักษา: | |
เกลือหิมาลายันสีดำ...น่ารู้: | |
ข้อแตกต่าง ของเกลือดำและเกลือชมพู หิมาลัย: |