ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับจับประเด็น ปรับปรุงใหม่สุด 2562 พร้อมฎีกา
คุณสมบัติเด่น / รายละเอียดสินค้า:
ประมวลกฎหมายอาญา จับประเด็นขีดเส้นใจความสำคัญ ปรับปรุงใหม่สุดถึงฉบับที่ 26 พ.ศ. 2560พร้อมใบแก้ไข ฉบับที่ 27 พ.ศ. 2562
ซึ่งกำหนดกรอบระยะเวลาการบังคับโทษปรับให้รวมถึงเรื่องการอายัดสิทธิเรียกร้องในทรัพย์สิน
เพื่อใช้ค่าปรับด้วยเพื่อความชัดเจนและเนื่องจากบทบัญญัติเกี่ยวกับอัตราโทษปรับในประมวลกฎหมายอาญายังไม่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในปัจจุบัน สมควรปรับปรุงบทบัญญัติดังกล่าวให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน รวมทั้งสมควรปรับปรุงความผิดที่มีโทษทางอาญาซึ่งไม่มีโทษปรับ ให้มีโทษปรับด้วย (ตามหมายเหตุท้าย) อนึ่ง กระบวนการนิติบัญญัติมีการพัฒนาอยู่ตลอด โปรดติดตามข่าวสารกฎหมายจากสูตรไพศาลอย่างต่อเนื่องสารบัญพระราชบัญญัติให้ใช้กฎหมายอาญา พ.ศ.2499 1
-8 ประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1 บทบัญญัติทั่วไป ลักษณะ 1 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดทั่วไป หมวด 1 บทนิยาม 1 หมวด 2 การใช้กฎหมายอาญา 2
-17 หมวด 3 โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย ส่วนที่ 1 โทษ 18
-38 ส่วนที่ 2 วิธีการเพื่อความปลอดภัย 39
-50 ส่วนที่ 3 วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษและการรอการลงโทษ 51
-58 หมวด 4 ความรับผิดในทางอาญา 59
-79 หมวด 5 การพยายามกระทำความผิด 80
-82 หมวด 6 ตัวการและผู้สนับสนุน 83
-89 หมวด 7 การกระทำความผิดหลายบทหรือหลายกระทง 90
-91 หมวด 8 การกระทำความผิดอีก 92
-94 หมวด 9 อายุความ 95
-101 ลักษณะ 2 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ 102
-106 ภาค 2 ความผิด ลักษณะ 1 ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร หมวด 1 ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ 107
-112 หมวด 2 ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร 113
-118 หมวด 3 ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร 119
-129 หมวด 4 ความผิดต่อสัมพันธ์ไมตรีกับต่างประเทศ 130
-135 ลักษณะ 1/1 ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย 135/1
-135/4 ลักษณะ 2 ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง หมวด 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงาน 136
-146 หมวด 2 ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ 147
-166 ลักษณะ 3 ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม หมวด 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม 167
-199 หมวด 2 ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม 200
-205 ลักษณะ 4 ความผิดเกี่ยวกับศาสนา 206
-208 ลักษณะ 5 ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน 209
-216 ลักษณะ 6 ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน 217
-239 ลักษณะ 7 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา 240
-249 หมวด 2 ความผิดเกี่ยวกับดวงตราแสตมป์ และตั๋ว 250
-263 หมวด 3 ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร 264
-269 หมวด 4 ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ 269/1
-269/7 ลักษณะ 8 ความผิดเกี่ยวกับการค้า 270
-275 ลักษณะ 9 ความผิดเกี่ยวกับเพศ 276
-287 ลักษณะ 10 ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย หมวด 1 ความผิดต่อชีวิต 288
-294 หมวด 2 ความผิดต่อร่างกาย 295
-300 หมวด 3 ความผิดฐานทำให้แท้งลูก 301
-305 หมวด 4 ความผิดฐานทอดทิ้งเด็กคนป่วยเจ็บหรือคนชรา 306
-308 ลักษณะ 11 ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง หมวด 1 ความผิดต่อเสรีภาพ 309
-321 หมวด 2 ความผิดฐานเปิดเผยความลับ 322
-325 หมวด 3 ความผิดฐานหมิ่นประมาท 326
-333 ลักษณะ 12 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ หมวด 1 ความผิดฐานลักทรัพย์และวิ่งราวทรัพย์ 334
-336 หมวด 2 ความผิดฐานกรรโชก รีด เอาทรัพย์ ชิงทรัพย์และปล้นทรัพย์ 337
-340 หมวด 3 ความผิดฐานฉ้อโกง 341
-348 หมวด 4 ความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ 349
-351 หมวด 5 ความผิดฐานยักยอก 352
-356 หมวด 6 ความผิดฐานรับของโจร 257 หมวด 7 ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ 358
-361 หมวด 8 ความผิดฐานบุกรุก 362
-366 ลักษณะ 13 ความผิดเกี่ยวกับศพ 366/1
- 366/4ภาค 3 ลหุโทษ367
-398อุเทศประมวลกฎหมายอาญาพร้อมฎีกาใหม่*ราคารวมค่าจัดส่ง
-8 ประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1 บทบัญญัติทั่วไป ลักษณะ 1 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดทั่วไป หมวด 1 บทนิยาม 1 หมวด 2 การใช้กฎหมายอาญา 2
-17 หมวด 3 โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย ส่วนที่ 1 โทษ 18
-38 ส่วนที่ 2 วิธีการเพื่อความปลอดภัย 39
-50 ส่วนที่ 3 วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษและการรอการลงโทษ 51
-58 หมวด 4 ความรับผิดในทางอาญา 59
-79 หมวด 5 การพยายามกระทำความผิด 80
-82 หมวด 6 ตัวการและผู้สนับสนุน 83
-89 หมวด 7 การกระทำความผิดหลายบทหรือหลายกระทง 90
-91 หมวด 8 การกระทำความผิดอีก 92
-94 หมวด 9 อายุความ 95
-101 ลักษณะ 2 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ 102
-106 ภาค 2 ความผิด ลักษณะ 1 ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร หมวด 1 ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ 107
-112 หมวด 2 ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร 113
-118 หมวด 3 ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร 119
-129 หมวด 4 ความผิดต่อสัมพันธ์ไมตรีกับต่างประเทศ 130
-135 ลักษณะ 1/1 ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย 135/1
-135/4 ลักษณะ 2 ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง หมวด 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงาน 136
-146 หมวด 2 ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ 147
-166 ลักษณะ 3 ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม หมวด 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม 167
-199 หมวด 2 ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม 200
-205 ลักษณะ 4 ความผิดเกี่ยวกับศาสนา 206
-208 ลักษณะ 5 ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน 209
-216 ลักษณะ 6 ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน 217
-239 ลักษณะ 7 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา 240
-249 หมวด 2 ความผิดเกี่ยวกับดวงตราแสตมป์ และตั๋ว 250
-263 หมวด 3 ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร 264
-269 หมวด 4 ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ 269/1
-269/7 ลักษณะ 8 ความผิดเกี่ยวกับการค้า 270
-275 ลักษณะ 9 ความผิดเกี่ยวกับเพศ 276
-287 ลักษณะ 10 ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย หมวด 1 ความผิดต่อชีวิต 288
-294 หมวด 2 ความผิดต่อร่างกาย 295
-300 หมวด 3 ความผิดฐานทำให้แท้งลูก 301
-305 หมวด 4 ความผิดฐานทอดทิ้งเด็กคนป่วยเจ็บหรือคนชรา 306
-308 ลักษณะ 11 ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง หมวด 1 ความผิดต่อเสรีภาพ 309
-321 หมวด 2 ความผิดฐานเปิดเผยความลับ 322
-325 หมวด 3 ความผิดฐานหมิ่นประมาท 326
-333 ลักษณะ 12 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ หมวด 1 ความผิดฐานลักทรัพย์และวิ่งราวทรัพย์ 334
-336 หมวด 2 ความผิดฐานกรรโชก รีด เอาทรัพย์ ชิงทรัพย์และปล้นทรัพย์ 337
-340 หมวด 3 ความผิดฐานฉ้อโกง 341
-348 หมวด 4 ความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ 349
-351 หมวด 5 ความผิดฐานยักยอก 352
-356 หมวด 6 ความผิดฐานรับของโจร 257 หมวด 7 ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ 358
-361 หมวด 8 ความผิดฐานบุกรุก 362
-366 ลักษณะ 13 ความผิดเกี่ยวกับศพ 366/1
- 366/4ภาค 3 ลหุโทษ367
-398อุเทศประมวลกฎหมายอาญาพร้อมฎีกาใหม่*ราคารวมค่าจัดส่ง