คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ว่าด้วย ครอบครัว

คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ว่าด้วย ครอบครัว
คุณสมบัติเด่น / รายละเอียดสินค้า:
บทคัดย่อ/สารบาญ บทที่ ๑ การใช้บังคับกฎหมายครอบครัว ๑. กฎหมายลักษณะผัวเมีย ๒. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ เดิม ๓. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ใหม่ ๔. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ที่แก้ไขในปี ๒๕๓๓ ๕. สถานะของครอบครัวตามกฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้ ๖. การใช้กฎหมายอิสลามเกี่ยวกับครอบครัวและมรดกในสี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ๗. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีครอบครัว ๘. ธุรกรรมเกี่ยวกับครอบครัวและมรดกที่ทำโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ บทที่ ๒ การหมั้น ๑. เงื่อนไขของการหมั้น ๒. แบบของสัญญาหมั้น ๓. ของหมั้น ๔. คู่สัญญาที่จะต้องรับผิดตามสัญญาหมั้น ๕. สินสอด ๖. วิธีการในการคืนของหมั้นหรือสินสอด ๗. ทรัพย์กองทุน ๘. ทรัพย์รับไหว้ ๙. เรือนหอ ๑๐. การผิดสัญญาหมั้นและค่าทดแทน ๑๑. การระงับสิ้นไปแห่งสัญญาหมั้นและค่าทดแทน ๑๒. หลักเกณฑ์การคำนวณค่าทดแทนในเรื่องการหมั้นและอำนาจฟ้องเรียกค่าทดแทน ๑๓. อายุความ บทที่ ๓ การสมรส ๑. ความหมายของการสมรส ๒. เงื่อนไขแห่งการสมรส ๓. แบบแห่งการสมรส ๔. การสมรสในต่างประเทศ ๕. การสมรสในเหตุฉุกเฉิน บทที่ ๔ ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา ๑. การอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยาและช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกัน ๒. การแยกกันอยู่ต่างหากเป็นการชั่วคราว ๓. การเป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ของคู่สมรส ๔. การอุปการะเลี้ยงดูและกระทำการตามสมควรเพื่อให้คู่สมรสที่วิกลจริตมีความปลอดภัย ๕. การซื่อสัตย์ในความรักต่อกัน ๖. การใช้คำนำหน้านามและชื่อสกุลของหญิงมีสามี ๗. สัญชาติของสามีภริยา ๘. ภูมิลำเนาและสิทธิเบ็ดเตล็ดของสามีภริยา บทที่ ๕ ทรัพย์สินและหนี้สินระหว่างสามีภริยา ๑. สัญญาก่อนสมรสในเรื่องทรัพย์สิน ๒. สัญญาระหว่างสมรสในเรื่องทรัพย์สิน ๓. ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา ๔. ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน ๕. หนี้สินของสามีภริยา บทที่ ๖ การสมรสที่เป็นโมฆะ ๑. ขอบเขตของการสมรสที่เป็นโมฆะ ๒. เหตุที่ทำให้การสมรสเป็นโมฆะ ๓. การกล่าวอ้างว่าการสมรสใดเป็นโมฆะ ๔. การแจ้งให้นายทะเบียนสมรสบันทึกความเป็นโมฆะของการสมรส ๕. ผลของการสมรสที่เป็นโมฆะ บทที่ ๗ การสิ้นสุดแห่งการสมรส ๑. การสมรสที่สิ้นสุดลงด้วยความตาย ๒. การสมรสที่เป็นโมฆียะ ๓. การหย่า บทที่ ๘ บิดามารดากับบุตร ๑. การเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ๒. การฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็นบุตร ๓. การฟ้องคดีปฏิเสธความเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ๔. การทำให้บุตรที่เกิดนอกสมรสกลายเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดา บทที่ ๙ สิทธิและหน้าที่ระหว่างบิดามารดากับบุตร ๑. สิทธิของบุตรในชื่อสกุล ๒. สิทธิของบุตรในสัญชาติไทยตามบิดาหรือมารดา ๓. บุตรจะฟ้องบุพการีไม่ได้ ๔. บุตรและบิดามารดาต่างมีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูกัน ๕. บุตรอยู่ใต้อำนาจปกครองของบิดามารดา ๖. การถอนอำนาจปกครอง บทที่ ๑๐ ผู้ปกครองและผู้อยู่ในปกครอง ๑. เหตุและวิธีการตั้งผู้ปกครอง ๒. คุณสมบัติของผู้ที่จะเป็นผู้ปกครอง ๓. จำนวนและการเริ่มต้นการเป็นผู้ปกครอง ๔. สิทธิและหน้าที่ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ในปกครอง ๕. การสิ้นสุดแห่งความปกครองและความเป็นผู้ปกครอง ๖. ผู้อนุบาลที่มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ใช้อำนาจปกครอง บทที่ ๑๑ บุตรบุญธรรม ๑. คุณสมบัติของผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรม ๒. เงื่อนไขในการรับบุตรบุญธรรม ๓. ผลของการรับบุตรบุญธรรม ๔. การเลิกรับบุตรบุญธรรม บทที่ ๑๒ ค่าอุปการะเลี้ยงดู ๑. หลักเกณฑ์ในการเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู ๒. วิธีการฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู ๓. การเปลี่ยนแปลงเพิกถอนคำสั่งเรื่องค่าอุปการะเลี้ยงดู ๔. วิธีการชำระค่าอุปการะเลี้ยงดู ๕. สิทธิที่จะได้รับค่าอุปการะเลี้ยงดูจะสละหรือโอนไม่ได้ ๖. การยอมรับและบังคับตามคำพิพากษาของศาลต่างประเทศในเรื่องค่าอุปการะเลี้ยงดู รายละเอียด
ชื่อผู้แต่ง : ศาสตราจารย์พิเศษประสพสุข บุญเดช
รหัสสินค้า : 9786164040939
รูปแบบ : ปกอ่อน
น้ำหนัก : 1,650 กรัม
จำนวนหน้า : 871 หน้า
ขนาด : 18.5 x 26 ซม.
พิมพ์ครั้งที่ 25 : 2564
 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมของ คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ว่าด้วย ครอบครัว
หากรายละเอียดยังไม่เพียงพอ โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ร้านด้านล่าง....
winyuchon