เจลน้ำแข็ง 5 ชิ้น เจลน้ำแข็ง ประคบเย็นลดอาการปวดบวมช้ำ เคล็ด เมื่อยล้า สักผิวฉีดผิว พัดลมไอเย็นขนาดเล็ก แช่อาหารเครื่องดื่ม นมแม่
-3ชม แบบเย็น มาก แช่ในช่องแช่แข็งของตู้เย็น 2 ชม. แบบเย็น ปานกลาง แช่ในน้ำแข็ง 20 นาที แบบเย็น น้อย แช่ในช่องธรรมดาของตู้เย็น 4 ชม. แบบร้อน มาก แช่ในน้ำที่ต้มเดือดแล้ว (ห้ามต้มพร้อมกับน้ำ) 1
-5 นาที แบบร้อน ปานกลาง แช่ในน้ำร้อน 7 นาทีC=หากนำไปแช่แข็ง สามารถนำไปใช้แช่เย็น นมแม่ ยา อาหารและเครื่องดื่ม โดยจะให้ความเย็นแทนน้ำแข็งได้ ใช้ร่วมกับกล่องโฟร์ม กระเป๋าเก็บความเย็น ลังน้ำแข็ง พัดลมไอเย็นขนาดเล็ก ได้เจลประคบ ร้อน เย็น COOL PACKบรรเทาอาการปวด ลดปวดแสบร้อน ลดบวม เช่น ปวดศีรษะหรือมีไข้สูง,ปวดเมื่อยตามร่างกาย,ปวดฟัน,แผลน้ำร้อนหรือไฟลวกที่ไม่รุนแรง,ข้อเคล็ด,บาดเจ็บหลังการเล่นกีฬา,แมลงสัตว์กัดต่อย,เลือดกำเดาไหล,มีดบาด,แผลหลังผ่าตัด,หลังถอนฟัน,ถูกแดดเผา,ตาบวม,อาการก่อนรูมาติซึม,ก่อนเป็นไมเกรน และยังใช้เพื่อทำให้สดชื่น ผ่อนคลายความเครียดวิธีการใช้เจลประคบเย็น
1. นำถุงเจลสำหรับประคบเย็นที่แช่ในตู้เย็นหรือช่องแช่แข็ง กดประคบบริเวณที่บาดเจ็บ ครั้งละ 15
- 20 นาที
2. ทำซ้ำทุกๆ 2 ชั่วโมง ใน 24 ชั่วโมงแรก หรือทำซ้ำเมื่อผิวหนังกลับสู่อุณหภูมิปกติ
3. ไม่ควรนวด คลึง บริเวณที่บาดเจ็บ
4. การประคบเย็น ต้องระมัดระวัง อย่าให้น้ำแข็งกระทบผิวหนังโดยตรงโดยควรสวมปลอกผ้าที่มักมีให้มากับอุปกรณ์ หรืออาจใช้ผ้าขนหนูพันหุ้ม
5. ไม่ควรใช้เจลประคบเย็นที่มีความเย็นจัดนานจนเกินไป ทำเช่นนี้ประมาณ 48
-72ชั่วโมง เช่นหลังการผ่าตัดหรือการถอนฟันประคบเย็นก่อนเพื่อลดอาการปวดบวม หลังจากนั้น 2
-3วัน(ตามแพทย์สั่ง) ข้อควรระวังในการประคบเย็น
1.ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในการรับความรู้สึก
2.บริเวณที่เลือดไปเลี้ยงไม่พอเพียง
3.ผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านการสื่อสาร
4.ผู้ป่วยที่มีปฏิกิริยาต่อความเย็น เช่น มีเม็ดเลือดแตก แพ้ความเย็น ทนความเย็นไม่ได้ เส้นประสาทอักเสบ จากความเย็น เป็นต้นประคบร้อน เมื่อใด?เริ่มใช้หลังจากมีอาการผ่านไปแล้ว 48 ชั่วโมง เพื่อลดอาการปวดและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อาการที่ควรประคบร้อน เช่น ปวดตึงของกล้ามเนื้อบริเวณคอ บ่า หลัง น่อง ปวดประจำเดือน ปวดข้อ ปวดฟัน เต้านมคัดตึงในสตรีให้นมบุตร คัดจมูก เมื่อยล้าสายตา เป็นต้นวิธีประคบร้อน เริ่มใช้หลังจากมีอาการผ่านไปแล้ว 48 ชั่วโมง ใช้เจลประคบร้อนที่ทำให้ร้อนแล้ว หุ้มด้วยผ้าขนหนูทดสอบอุณหภูมิที่จะประคบไม่ให้ร้อนเกินไป วางเจลประคบบริเวณที่มีอาการ ประมาณ 15
-20 นาที โดยขยับเปลี่ยนบริเวณที่วางบ่อยๆ วันละ 2
-3 ครั้ง ข้อควรระวังในการประคบร้อน
1.ห้ามประคบร้อนในบริเวณที่มีการบาดเจ็บหรืออักเสบเฉียบพลัน โดยเฉพาะใน 24 ชั่วโมงแรก
2.ผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกผิดปกติ
3.บริเวณที่มีปัญหาอาการชา หรือขาดเลือดไปเลี้ยง
4.บริเวณที่อยู่ใกล้ก้อนเนื้องอกหรือเป็นมะเร็ง
5.ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีปัญหาด้านการสื่อสาร
6.ความร้อนที่มากเกินไป อาจทำให้เกิดรอยดำไหม้หรือแผลพุพองได้
7.บริเวณที่มีแผลเปิด มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อ