คำอธิบายกฎหมายแรงงาน เกษมสันต์ วิลาวรรณ
คุณสมบัติเด่น / รายละเอียดสินค้า:
คำอธิบายกฎหมายแรงงาน เกษมสันต์ วิลาวรรณ
9786162699634
บทนำ
กฎหมายแรงงานเป็นวิชาสำคัญที่นักศึกษาในหลายสาขาวิชาของสถาบันต่าง ๆ ต้องศึกษา และเป็นความรู้ที่นายจ้างและลูกจ้างทุกคนในประเทศไทยต้องใฝ่หาและทำความเข้าใจ ปัจจุบันได้มีกฎหมายแรงงานออกมาหลายฉบับ การศึกษากฎหมายแรงงานจึงต้องเน้นเฉพาะฉบับที่สำคัญตามหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาและสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาซึ่งได้แก่ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายเงินทดแทน กฎหมายประกันสังคม และกฎหมายจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน หนังสือเล่มนี้จะเน้นถึงหลักการ แนวปฏิบัติ และคำพิพากษาฎีกาที่สำคัญ โดยการจัดพิมพ์ครั้งนี้มีการปรับปรุงฎีกาให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น
สารบัญ
กฎหมายแรงงาน
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
บทที่ 1 ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้
บทที่ 2 คุ้มครองทั่วไป
บทที่ 3 การใช้แรงงาน
บทที่ 4 การใช้แรงงานหญิง
บทที่ 5 การใช้แรงงานเด็ก
บทที่ 6 การจ่ายค่าตอบแทนการทำงาน
บทที่ 7 คณะกรรมการค่าจ้าง
บทที่ 8 สวัสดิการ
บทที่ 9 การจัดทำเอกสารการจ้าง
บทที่ 10 การพักงาน
บทที่ 11 การจ่ายค่าชดเชย
บทที่ 12 การยื่นคำร้อง
บทที่ 13 กองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง
บทที่ 14 การบริการกฎหมาย
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์
บทที่ 1 ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้
บทที่ 2 ข้อตกลงเกี่ยวกับการจ้าง
บทที่ 3 การเรียกร้องและการเจรจา
บทที่ 4 การระงับข้อพิพาทแรงงาน
บทที่ 5 การปิดงานและการนัดหยุดงาน
บทที่ 6 คณะกรรมการลูกจ้าง
บทที่ 7 องค์การฝ่ายนายจ้างและองค์การฝ่ายลูกจ้าง
บทที่ 8 การกระทำอันไม่เป็นธรรม
กฎหมายเงินทดแทน
บทที่ 1 ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้
บทที่ 2 เหตุแห่งการจ่ายเงินทดแทน
บทที่ 3 เงินทดแทนและผู้มีสิทธิได้รับ
บทที่ 4 การคุ้มครองเงินทดแทน
บทที่ 5 กองทุนเงินทดแทน
บทที่ 6 การพิจารณาสิทธิในเงินทดแทน
กฎหมายว่าด้วยศาลแรงงาน
บทที่ 1 ความหมาย ลักษณะ และหลักการ
บทที่ 2 ศาลแรงงานและคดีแรงงาน
บทที่ 3 วิธีพิจารณาคดีแรงงาน
บทที่ 4 คดีเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม
บทที่ 5 การอุทธรณ์และการบังคับคดี
กฎหมายประกันสังคม
บทที่ 1 ความหมาย และการบังคับใช้
บทที่ 2 หน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง
บทที่ 3 ประโยชน์ทดแทน
ผู้แต่ง : | เกษมสันต์ วิลาวรรณ |
ปีที่พิมพ์: | ครั้งที่ 28 |
จำนวนหน้า: | 456 หน้า |
ขนาด : | 18.5x26 ซม. |
รูปแบบ : | ปกอ่อน |