หนังสือคำอธิบายกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1 บททั่วไป ไพโรจน์ วายุภาพ
คุณสมบัติเด่น / รายละเอียดสินค้า:
คำอธิบายกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค 1 บททั่วไป ไพโรจน์ วายุภาพ
ข้อความเบื้องต้น
กฎหมายสารบัญญัติและกฎหมายวิธีสบัญญัติ
ลักษณะของกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ความหมายของคำว่า “คดีแพ่ง”
การใช้บังคับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
สาระสำคัญของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ลักษณะ 1 ศาล
บทที่ 1 เขตอำนาจศาล
ส่วนที่ 1 เขตอำนาจศาลที่จะรับคำฟ้อง
หมวด 1 เขตศาลที่จะรับคำฟ้องในคดีมีข้อพิพาท
หมวด 2 เขตศาลที่จะรับคำร้องขอในคดีไม่มีข้อพิพาท
หมวด 3 เขตศาลที่จะรับคำฟ้องหรือคำร้องขอกรณีมูลความแห่งคดีเกี่ยวข้องกัน
หมวด 4 เขตศาลที่จะรับคำฟ้องเกี่ยวกับคดีสาขา
ส่วนที่ 2 การโอนคดีโดยจำเลยเป็นผู้ขอ
ส่วนที่ 3 การโอนคดีไปรวมพิจารณา
ส่วนที่ 4 การดำเนินกระบวนการพิจารณาในศาลชั้นต้นอื่น
บทที่ 2 คัดค้านผู้พิพากษา
เหตุที่จะยกขึ้นคัดค้านผู้พิพากษาได้
การดำเนินกระบวนพิจารณากรณีที่มีเหตุคัดค้านผู้พิพากษา
ผลของการคัดค้านผู้พิพากษา
บทที่ 3 อำนาจและหน้าที่ของศาล
ส่วนที่ 1 ขอบเขตการใช้อำนาจศาล
ส่วนที่ 2 ลำดับการพิจารณา
ส่วนที่ 3 การตรวจคำคู่ความ
ส่วนที่ 4 การไกล่เกลี่ย
ส่วนที่ 5 กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับคำขอและคำแถลงหรือที่ศาลสั่งได้เอง
ส่วนที่ 6 การคำนวณระยะเวลาและการขยายหรือย่นระยะเวลา
ส่วนที่ 7 การชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมาย
ส่วนที่ 8 การขอคุ้มครองสิทธิในระหว่างพิจารณา
ส่วนที่ 9 การคัดค้านการดำเนินคดีของศาล
ส่วนที่ 10 เพิกถอนการพิจารณาที่ผิดระเบียบ
ส่วนที่ 11 การรวมพิจารณา
ส่วนที่ 12 การแยกพิจารณา
ส่วนที่ 13 ละเมิดอำนาจศาล
ส่วนที่ 14 การดำเนินกระบวนการพิจารณาในต่างประเทศ
บทที่ 4 การนั่งพิจารณา
ส่วนที่ 1 หลักเกณฑ์การนั่งพิจารณา
ส่วนที่ 2 การเลื่อนคดี
ส่วนที่ 3 คู่ความมรณะ
ส่วนที่ 4 คู่ความตกเป็นผู้ไร้ความสามารถหรือผู้แทนหรือผู้แทนหรือทนายความมรณะหรือหมดอำนาจ
บทที่ 5 รายงานและสำนวนความ
ส่วนที่ 1 ภาษาที่ใช้ในกระบวนพิจารณา
ส่วนที่ 2 ใบมอบอำนาจ
ส่วนที่ 3 รายงานกระบวนพิจารณา
ส่วนที่ 4 การลงลายมือชื่อแสดงการรับรู้หรือรับรอง
ส่วนที่ 5 สารบบความของศาล
ส่วนที่ 6 สำนวนความสูญหายหรือบุบสลาย
ส่วนที่ 7 การตรวจสำนวนและคัดสำเนาเอกสาร
ลักษณะ 2 คู่ความ
บทที่ 1 การเป็นคู่ความ
คดีมีข้อพิพาท
คดีไม่มีข้อพิพาท
บทที่ 2 ความสามารถของคู่ความ
บุคคลที่เป็นผู้ไร้ความสามารถ
บุคคลที่เป็นผู้แทนโดยชอบธรรม
การดำเนินกระบวนพิจารณาของผู้ไร้ความสามารถ
วิธีการแก้ไขเมื่อปรากฏความบกพร่องในเรื่องของความสามารถ
บทที่ 3 ร้องสอด
ส่วนที่ 1 กรณีที่อาจมีการร้องสอดได้และวิธีการร้องสอด
ส่วนที่ 2 ผลของการร้องสอด
บทที่ 4 คู่ความร่วม
การที่จะเป็นคู่ความร่วมกันได้
ผลของการเป็นคู่ความร่วม
บทที่ 5 ผู้แทนในคดี
บทที่ 6 ทนายความ
การตั้งทนายความ
อำนาจของทนายความ
การรับเงินและทรัพย์สินจากศาล
การพ้นจากหน้าที่ทนายความ
บทที่ 7 ผู้รับมอบฉันทะ
บทที่ 8 การสอบสวนถึงอำนาจของผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้แทนของนิติบุคคล
บุคคลที่ถูกสอบสวนอำนาจ
เหตุที่มีการสอบสวนอำนาจ
การสอบสวนอำนาจ
การมีคำสั่ง
ลักษณะ 3 การยื่นและส่งคำคู่ความและเอกสาร
บทที่1 รายการในคำคู่ความและเอกสาร
บทที่ 2 การยื่นคำคู่ความหรือเอกสารต่อศาล
ส่งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของศาล
ยื่นต่อศาลในระหว่างนั่งพิจารณา
บทที่ 3 การส่งคำคู่ความหรือเอกสารแก่คู่ความหรือบุคคลภายนอก
ส่วนที่ 1 เจ้าพนักงานศาลเป็นผู้ส่ง
ส่วนที่ 2 คู่ความส่งเอง
ส่วนที่ 3 การลงลายมือชื่อรับรู้ในศาลแทนการส่ง
ส่วนที่ 4 การรับไปโดยทางเจ้าพนักงานศาล
บทที่ 4 การถือว่าได้มีการยื่นหรือส่งภายในกำหนด
กรณีที่ต้องทำภายในเวลาหรือก่อนเวลาที่กฎหมายหรือศาลกำหนด
กรณีที่ต้องให้คู่ความอีกฝ่ายหรือบุคคลภายนอกทราบล่วงหน้าก่อนวันเริ่มต้นนั่งพิจารณาหรือสืบพยาน
กรณีที่คู่ความส่งสำเนาตรงไปยังคู่ความอีกฝ่ายหรือบุคคลภายนอก
บทที่ 5 การส่งคำคู่ความหรือเอกสารในต่างประเทศ
การส่งหมายเรียกและคำฟ้องตั้งต้นคดีกรณีจำเลยไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักร
การส่งเอกสารอื่นนอกจากหมายเรียกและคำฟ้องกรณีผู้รับไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักร
ลักษณะ 4 คำพิพากษาและคำสั่ง
เรื่องที่มิใช่ประเด็นแห่งคดี
เรื่องประเด็นแห่งคดี
บทที่ 1 การประนีประนอมยอมความ
การทำข้อตกลงหรือประนีประนอมยอมความ
การพิพากษาตามยอม
ผลของคำพิพากษาตามยอม
การอุทธรณ์ฎีกาคำพิพากษาตามยอม
บทที่ 2 การทำคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ส่วนที่ 1 ขั้นตอนการทำคำพิพากษาหรือคำสั่ง
เขตอำนาจศาลและอำนาจผู้พิพากษาในการทำคำพิพากษาหรือคำสั่ง
การบังคับตามความเห็นขององค์คณะผู้พิพากษาหลายคน
การวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่
การทำความเห็นแย้ง
การอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ส่วนที่ 2 ข้อความในคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ชื่อศาลที่พิพากษาคดีนั้น
ชื่อคู่ความ
รายการแห่งคดี
เหตุผลแห่งคำวินิจฉัย
คำวินิจฉัยของศาล
ค่าฤชาธรรมเนียม
การลงลายมือชื่อ
บทที่ 3 หลักเกณฑ์การวินิจฉัยชี้ขาด
ศาลต้องตัดสินตามข้อหาในคำฟ้องทุกข้อ
ห้ามมิให้พิพากษาหรือทำคำสั่งเกินคำขอ
ห้ามมิให้พิพากษาหรือทำคำสั่งนอกจากที่ปรากฏในคำฟ้อง
ข้อยกเว้น
บทที่ 4 การแก้ไขคำพิพากษาหรือคำสั่ง
บทที่ 5 ดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
หลักเกณฑ์กรณีที่เป็นดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
การดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำในอีกคดีหนึ่ง
การดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำในคดีเดิม
ข้อยกเว้นที่ไม่เป็นการดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
บทที่ 6 ผลผูกพันของคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ผลของคำพิพากษาหรือคำสั่งที่เกี่ยวกับเวลา
ผลของคำพิพากษาหรือคำสั่งที่เกี่ยวกับบุคคลที่ผูกพัน
ผลของคำพิพากษาหรือคำสั่งที่มีผลผูกพันบุคคลภายนอก
บทที่ 7 คำพิพากษาหรือคำสั่งขัดกัน
คำพิพากษาหรือคำสั่งของทั้งศาลถึงที่สุดแล้ว
คำพิพากษาหรือคำสั่งของทั้งสองศาลต่างเป็นการปฏิบัติชำระหนี้อันแบ่งแยกจากกันไม่ได้
คำพิพาก
ผู้แต่ง : | ไพโรจน์ วายุภาพ |
ปีที่พิมพ์: | ครั้งที่ 6 |
จำนวนหน้า: | 770 หน้า |
ขนาด : | 18.5x26 ซม. |
รูปแบบ : | ปกอ่อน |