หนังสือคำอธิบายหลักกฎหมาย วิ.อาญา ว่าด้วยการดำเนินคดีในขั้นตอนก่อนการพิจารณา เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
คุณสมบัติเด่น / รายละเอียดสินค้า:
คำอธิบายหลักกฎหมาย วิ.อาญา ว่าด้วยการดำเนินคดีในขั้นตอนก่อนการพิจารณา เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
บทที่ 1
หลักพื้นฐานที่สำคัญบางประการของ
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
บทที่ 2
หลักการใหม่ในการรับฟังพยานหลักฐาน
ที่ “ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ” (มาตรา 226
-1) บทบัญญัติมาตรา 226
-1 ความเกี่ยวพันระหว่างบทบัญญัติมาตรา 226
-1 และ “คำรับสารภาพ” หรือ “ถ้อยคำ” ของผู้ต้องหา หลัก “ผลไม้ของต้นไม้ที่เป็นพิษ” และหลักของมาตรา 226
-1 ความเกี่ยวพันระหว่างฎีกาที่ 500
-2474 และหลักในมาตรา 226
-1 สรุปความหมายของคำว่า “พยานหลักฐาน” ที่เกิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ” กรณีที่ “ไม่ใช่” “พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ” บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญาก่อนการพิจารณาคดี ความผิดอันยอมความได้ อายุความ วิธีการนับอายุความฟ้องคดี อายุความตาม ป.อ. มาตรา 96 ผู้ร้องทุกข์ มอบอำนาจให้ร้องทุกข์ได้ ความสำคัญของการ “ร้องทุกข์” ร้องทุกข์ต่อผู้ใด ลักษณะของ “คำร้องทุกข์” การแก้คำร้องทุกข์ ผู้เสียหายเป็นผู้เยาว์ อำนาจในการฟ้องคดีของผู้เสียหาย ผู้เยาว์ฟ้องคดีด้วยตนเองไม่ได้ ผู้เสียหายยื่นฟ้องแล้วตายลง การกลั่นกรองฟ้องของผู้เสียหาย ปล่อยชั่วคราว อำนาจในการระงับคดีความผิดอันยอมความได้ของผู้เสียหาย การดำเนินคดีในความผิดอันยอมความได้โดยองค์กรของรัฐ การสอบสวน ข้อห้ามของการสอบสวน การกลั่นกรองโดยพนักงานอัยการ ความผิดอาญาแผ่นดิน คำกล่าวโทษ บทที่ 4 อำนาจของผู้เสียหายในการดำเนินคดีอาญา ความสำคัญของผู้เสียหายในคดีความผิดอันยอมความได้ ผู้เสียหายที่แท้จริง ผู้เสียหายโดยพฤตินัย ผู้เสียหายโดยนิตินัย ผู้เสียหายในความผิดฐานบุกรุก ผู้เสียหายในความผิดตาม ป.อ. มาตรา 136
-205 ความผิดที่รัฐเท่านั้นมีอำนาจดำเนินคดีแก่ผู้กระทำความผิด ผู้เสียหายมอบอำนาจให้ผู้อื่นดำเนินคดีอาญาแทนได้ มอบอำนาจให้ร้องทุกข์ มอบอำนาจให้ฟ้องคดี ผู้เสียหายที่เป็นผู้เยาว์ ผู้เยาว์ร้องทุกข์และถอนคำร้องทุกข์ได้ด้วยตนเอง ผู้เยาว์ฟ้องคดีโดยลำพังตนเองไม่ได้ ผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหาย ผู้มีอำนาจจัดการแทนตามมาตรา 4 ผู้มีอำนาจจัดการแทนตามมาตรา 5 กรณีมาตรา 5 อนุมาตรา 1 กรณีมาตรา 5 อนุมาตรา 2 กรณีมาตรา 5 อนุมาตรา 3 ผู้มีอำนาจจัดการแทนตามมาตรา 6 “ผู้แทนเฉพาะคดี” อำนาจของผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายที่แท้จริง ข้อสังเกตเกี่ยวกับกรณี “ผู้เสียหาย” ถึงแก่ความตาย กรณีที่มีผู้เสียหายหลายคน ผู้เสียหายในความผิดฐานหมิ่นประมาท คำพิพากษาฎีกาเรื่องผู้เสียหาย ความผิดฐานลักทรัพย์ ความผิดฐานฉ้อโกง ความผิดฐานยักยอก ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ความผิดฐานรับของโจร ความผิดฐานบุกรุก ความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่น ถึงแก่ความตาย (มาตรา 291) ความผิดฐานพรากผู้เยาว์ ความผิดฐานปลอมเอกสารและใช้เอกสารปลอม ความผิดฐานแจ้งความเท็จแก่เจ้าพนักงาน (มาตรา 137) และ ความผิดฐานแจ้งให้พนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จ (มาตรา 267) ความผิดฐานฟ้องเท็จ ความผิดฐานเบิกความเท็จ ความผิดฐานนำสืบหรือแสดงพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ ในการพิจารณาคดี (มาตรา 180) ความผิดฐานทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้นฯ ซึ่งพินัยกรรมหรือเอกสารของผู้อื่น (มาตรา 188) ความผิดฐานขัดขืนหมายหรือคำสั่งของศาล (มาตรา 170) ความผิดฐานเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้น การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริต (มาตรา 157) ความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานทำให้ผู้ที่อยู่ในระหว่างคุมขัง หลุดพ้นจากการคุมขัง ความผิดตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจาก การใช้เช็คฯ บทที่ 5 การฟ้องคดีอาญาโดยผู้เสียหาย กรณีมีผู้เสียหายที่แท้จริงหลายคน ผู้เสียหายที่แท้จริงยื่นฟ้องแล้วตายลง (การรับมรดกความตามมาตรา 29) การขอเป็นโจทก์ร่วม ผลของการที่ผู้เสียหายเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ สรุปหลักกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์ บทที่ 6 การสิ้นสุดคดีความผิดอันยอมความได้ โดยการถอนคำร้องทุกข์ การยอมความกัน ถอนคำร้องทุกข์ ยอมความกัน บทที่ 7 การสิ้นสุดคดีโดยการถอนฟ้อง ความผิดอาญาแผ่นดิน ความผิดอันยอมความได้ ผลของการถอนฟ้อง ความผิดอาญาแผ่นดิน ความผิดอันยอมความได้ บทที่ 8 การสิ้นสุดคดีโดยการเปรียบเทียบ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการเปรียบเทียบ วิธีเปรียบเทียบตาม ป.วิ.อ. การเปรียบเทียบที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย บทที่ 9 การสิ้นสุดคดีกรณีอื่น ๆ ศาลได้มีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้อง (ฟ้องซ้ำ) หลักเกณฑ์ของฟ้องซ้ำ จำเลยคนเดียวกัน การกระทำ “กรรมเดียว” กัน มีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งฟ้องได้ กรณีที่ถือว่าศาลวินิจฉัย “ในความผิด” แล้ว โจทก์ฟ้องจำเลยโดยสมยอมกัน กรณีที่ถือว่าศาลยังไม่ได้วินิจฉัย “ในความผิด” “ความผิดต่อเนื่อง” เป็นการกระทำกรรมเดียว คดีขาดอายุความ มีกฎหมายยกเว้นโทษ ความตายของผู้กระทำผิด บทที่ 10 การฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ความหมายของคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา กรณีที่ไม่ใช่คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ผู้มีอำนาจฟ้อง อัยการเรียกทรัพย์สินหรือราคาแทนผู้เสียหาย การเรียก “ดอกเบี้ย” ของต้นเงินอันเกิดจากการกระทำ ความผิดตามที่ระบุไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 43 ฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญายังศาลใด หลักเกณฑ์ในการพิพา
-1) บทบัญญัติมาตรา 226
-1 ความเกี่ยวพันระหว่างบทบัญญัติมาตรา 226
-1 และ “คำรับสารภาพ” หรือ “ถ้อยคำ” ของผู้ต้องหา หลัก “ผลไม้ของต้นไม้ที่เป็นพิษ” และหลักของมาตรา 226
-1 ความเกี่ยวพันระหว่างฎีกาที่ 500
-2474 และหลักในมาตรา 226
-1 สรุปความหมายของคำว่า “พยานหลักฐาน” ที่เกิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ” กรณีที่ “ไม่ใช่” “พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ” บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญาก่อนการพิจารณาคดี ความผิดอันยอมความได้ อายุความ วิธีการนับอายุความฟ้องคดี อายุความตาม ป.อ. มาตรา 96 ผู้ร้องทุกข์ มอบอำนาจให้ร้องทุกข์ได้ ความสำคัญของการ “ร้องทุกข์” ร้องทุกข์ต่อผู้ใด ลักษณะของ “คำร้องทุกข์” การแก้คำร้องทุกข์ ผู้เสียหายเป็นผู้เยาว์ อำนาจในการฟ้องคดีของผู้เสียหาย ผู้เยาว์ฟ้องคดีด้วยตนเองไม่ได้ ผู้เสียหายยื่นฟ้องแล้วตายลง การกลั่นกรองฟ้องของผู้เสียหาย ปล่อยชั่วคราว อำนาจในการระงับคดีความผิดอันยอมความได้ของผู้เสียหาย การดำเนินคดีในความผิดอันยอมความได้โดยองค์กรของรัฐ การสอบสวน ข้อห้ามของการสอบสวน การกลั่นกรองโดยพนักงานอัยการ ความผิดอาญาแผ่นดิน คำกล่าวโทษ บทที่ 4 อำนาจของผู้เสียหายในการดำเนินคดีอาญา ความสำคัญของผู้เสียหายในคดีความผิดอันยอมความได้ ผู้เสียหายที่แท้จริง ผู้เสียหายโดยพฤตินัย ผู้เสียหายโดยนิตินัย ผู้เสียหายในความผิดฐานบุกรุก ผู้เสียหายในความผิดตาม ป.อ. มาตรา 136
-205 ความผิดที่รัฐเท่านั้นมีอำนาจดำเนินคดีแก่ผู้กระทำความผิด ผู้เสียหายมอบอำนาจให้ผู้อื่นดำเนินคดีอาญาแทนได้ มอบอำนาจให้ร้องทุกข์ มอบอำนาจให้ฟ้องคดี ผู้เสียหายที่เป็นผู้เยาว์ ผู้เยาว์ร้องทุกข์และถอนคำร้องทุกข์ได้ด้วยตนเอง ผู้เยาว์ฟ้องคดีโดยลำพังตนเองไม่ได้ ผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหาย ผู้มีอำนาจจัดการแทนตามมาตรา 4 ผู้มีอำนาจจัดการแทนตามมาตรา 5 กรณีมาตรา 5 อนุมาตรา 1 กรณีมาตรา 5 อนุมาตรา 2 กรณีมาตรา 5 อนุมาตรา 3 ผู้มีอำนาจจัดการแทนตามมาตรา 6 “ผู้แทนเฉพาะคดี” อำนาจของผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายที่แท้จริง ข้อสังเกตเกี่ยวกับกรณี “ผู้เสียหาย” ถึงแก่ความตาย กรณีที่มีผู้เสียหายหลายคน ผู้เสียหายในความผิดฐานหมิ่นประมาท คำพิพากษาฎีกาเรื่องผู้เสียหาย ความผิดฐานลักทรัพย์ ความผิดฐานฉ้อโกง ความผิดฐานยักยอก ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ความผิดฐานรับของโจร ความผิดฐานบุกรุก ความผิดฐานกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่น ถึงแก่ความตาย (มาตรา 291) ความผิดฐานพรากผู้เยาว์ ความผิดฐานปลอมเอกสารและใช้เอกสารปลอม ความผิดฐานแจ้งความเท็จแก่เจ้าพนักงาน (มาตรา 137) และ ความผิดฐานแจ้งให้พนักงานจดข้อความอันเป็นเท็จ (มาตรา 267) ความผิดฐานฟ้องเท็จ ความผิดฐานเบิกความเท็จ ความผิดฐานนำสืบหรือแสดงพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ ในการพิจารณาคดี (มาตรา 180) ความผิดฐานทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้นฯ ซึ่งพินัยกรรมหรือเอกสารของผู้อื่น (มาตรา 188) ความผิดฐานขัดขืนหมายหรือคำสั่งของศาล (มาตรา 170) ความผิดฐานเจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้น การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริต (มาตรา 157) ความผิดฐานเป็นเจ้าพนักงานทำให้ผู้ที่อยู่ในระหว่างคุมขัง หลุดพ้นจากการคุมขัง ความผิดตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยความผิดอันเกิดจาก การใช้เช็คฯ บทที่ 5 การฟ้องคดีอาญาโดยผู้เสียหาย กรณีมีผู้เสียหายที่แท้จริงหลายคน ผู้เสียหายที่แท้จริงยื่นฟ้องแล้วตายลง (การรับมรดกความตามมาตรา 29) การขอเป็นโจทก์ร่วม ผลของการที่ผู้เสียหายเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ สรุปหลักกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์ บทที่ 6 การสิ้นสุดคดีความผิดอันยอมความได้ โดยการถอนคำร้องทุกข์ การยอมความกัน ถอนคำร้องทุกข์ ยอมความกัน บทที่ 7 การสิ้นสุดคดีโดยการถอนฟ้อง ความผิดอาญาแผ่นดิน ความผิดอันยอมความได้ ผลของการถอนฟ้อง ความผิดอาญาแผ่นดิน ความผิดอันยอมความได้ บทที่ 8 การสิ้นสุดคดีโดยการเปรียบเทียบ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการเปรียบเทียบ วิธีเปรียบเทียบตาม ป.วิ.อ. การเปรียบเทียบที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย บทที่ 9 การสิ้นสุดคดีกรณีอื่น ๆ ศาลได้มีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้อง (ฟ้องซ้ำ) หลักเกณฑ์ของฟ้องซ้ำ จำเลยคนเดียวกัน การกระทำ “กรรมเดียว” กัน มีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งฟ้องได้ กรณีที่ถือว่าศาลวินิจฉัย “ในความผิด” แล้ว โจทก์ฟ้องจำเลยโดยสมยอมกัน กรณีที่ถือว่าศาลยังไม่ได้วินิจฉัย “ในความผิด” “ความผิดต่อเนื่อง” เป็นการกระทำกรรมเดียว คดีขาดอายุความ มีกฎหมายยกเว้นโทษ ความตายของผู้กระทำผิด บทที่ 10 การฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ความหมายของคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา กรณีที่ไม่ใช่คดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ผู้มีอำนาจฟ้อง อัยการเรียกทรัพย์สินหรือราคาแทนผู้เสียหาย การเรียก “ดอกเบี้ย” ของต้นเงินอันเกิดจากการกระทำ ความผิดตามที่ระบุไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 43 ฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญายังศาลใด หลักเกณฑ์ในการพิพา
ผู้แต่ง : | เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ |
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 7 : | แก้ไขเพิ่มเติม พฤศจิกายน 2558 |
จำนวนหน้า: | 734 หน้า |
ขนาด : | 18.5x26 ซม. |
รูปแบบ : | ปกอ่อน |